วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558

ตัวชี้วัด

ค้นหาข้อมูล และ ติดต่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมี คุณธรรมและจริยธรรม (ง3.1 ม.2/3)

สาระการเรียนรู้นแกนกลาง

- ความหมายพัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
-การมช้งานอินเตอร์เน็ต เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ blog การโอนย้ายแฟ้มข้อมูล การใช้โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล การสนทนาบนเครือข่าย
-คุณธรรมและจริยธรรมใช้ในอินเตอร์เน็ต
-ผลกระทบของการใช้อินเตอร์เน็ตกับสังคม
-มารยาทระเบียบและข้อบังคับในการใช้อินเตอร์เน็ต

คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต

ได้กล่าวถึงบัญญัติสิบประการของการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น

4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย

การใช้บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตช่วยให้เกิดการสื่อสารที่ไร้พรมแดนทั่วโลก ดังนั้นจึงมีการนำอินเทอร์เน็ตไปประยุกต์ใช้ในงานหลากหลายประเภท เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมล

 

การเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต

การเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต
เมื่อท่านต้องการเข้าใช้บริการต่าง ๆในอินเตอร์เน็ตนั้นท่านจำเป็นต้องทำการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเชื่อมต่อที่นิยมกันมีอยู่สามประเภทดังนี้
  • เชื่อมต่อกันโดยตรง(Direct conection)
  • เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์แบบ Dialup IP
  • เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์แบบ Terminal Emulation  อ่านเพิ่มเติม


การทำงานของอินเทอร์เน็ต

การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็นระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกำหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานสำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)  เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง 
อ่านเพิ่มเติม

ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ต (Internet)   คือ  เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน มาจากคำว่า Inter Connection Network   อินเทอร์เน็ต (Internet)  เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง  ทั่วโลก สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้ โดยใช้มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลที่เป็นหนึ่งเดียว หรือที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) ซึ่งโปรโตคอล ที่ใช้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี
อ่านเพิ่มเติม